Page 71 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 71

อยา่ งไรกต็ ามหากยอ้ นไปในอดตี ภาคอสี านกไ็ ดม้ กี ารคดั ลอก                        	 However, in the Northeast of Thailand, the
พระไตรปฎิ กเปน็ อกั ษรทอ้ งถน่ิ เพอื่ การเรยี นรู้ โดยคดั ลอกเปน็ ตวั อกั ษร          Tripitaka was copied and inscribed onto palm leaves using
ธรรมลงในใบลานโดยพระสงฆ์ท่ีมีความสามารถด้านการจารใบลาน                                 local characters. This was done by Buddhist monks who
และสามารถอ่านอักษรธรรมได้ บางคร้ังก็จ้างผู้ท่ีผ่านการบวชเรียน                         had ability to inscribe and was literate in the Dhamma
ชว่ ยคัดลอก จงึ เกิดกระบวนการที่เกี่ยวข้องกบั การสรา้ งคมั ภรี ์ใบลาน                 letters. Oftentimes, they hired someone who had been
ไมแ่ ตกตา่ งจากภาคอน่ื ๆ ทต่ี อ้ งระดมสรรพกำ� ลงั และผมู้ คี วามสามารถ                ordained to help. This culture happened in every region in
หลายด้านมาร่วมสร้างคัมภีร์ใบลานจนท�ำให้เกิดหนังสือเชิญชวนดัง                          Thailand. As seen on the selected excerpt above, which
ข้อความที่คัดมาข้างต้น ซึ่งเป็นข้อความท่ีปรากฏในใบลานที่วัดมณี                        appears in the palm - leaf manuscript at Wat Manee
วนาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สะท้อนให้เห็นการสร้าง                           Wanaram in Ubon Ratchathani, it reflects faith and unity of
คัมภีร์ใบลานว่า เป็นงานที่ต้องประกอบด้วยพลังศรัทธาจากบุคคล                            the local people that help maintain and inherit the
หลายฝา่ ย ในการรกั ษาและสบื ทอดคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ การบรจิ าค                      teachings of the Buddha. To complete a bundle of palm
สิ่งของท่ีจะท�ำให้การสร้างคัมภีร์ใบลานส�ำเร็จเป็นผูก เป็นมัดและ                       - leaf manuscripts or to wrap it with clothes is a great act
สุดท้ายก็หอ่ หุ้มด้วยผา้ ต่าง ๆ เพ่อื ปกปอ้ งคัมภีร์ใบลานจากฝ่นุ ละออง                of merit. Buddhist practitioners have pointed out that this
แมลงตา่ ง ๆ ซง่ึ การมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งคมั ภรี ใ์ บลานทางใดทางหนง่ึ              merit - making act is called “Danamai” which is a great
น้ี นักปราชญค์ รบู าอาจารยไ์ ด้ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ เป็นบญุ กริ ิยาวตั ถอุ ย่างหน่งึ      merit. In the northeast, there are a number of books called
ในขอ้ ทีว่ ่า “ทานมยั ” มีอานิสงสม์ าก ไมต่ ่างกบั บญุ กริ ยิ าวตั ถขุ อ้ อื่น ๆ      “Chalong, Salong or Song” which clearly point out different
ในภาคอสี านจงึ มกี ารเรยี บเรยี งหนงั สอื ชอ่ื “ฉลอง,สลองหรอื สอง” ขนึ้               types of merits as stated in the text above. If we investigate
จำ� นวนมากโดยเนอื้ ความในหนงั สอื ประเภทนไ้ี ดช้ ใ้ี หเ้ หน็ อานสิ งสจ์ าก            in the palm - leaf manuscripts in various temples in the
การท�ำบญุ ลักษณะตา่ ง ๆ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน ดงั ตัวอยา่ งข้อความขา้ งต้น                 northeastern region, the act of offering objects to create
ที่ระบุว่า “การถวายห่อพระคัมภีร์ สายรัดพระคัมภีร์ ฉลากหนังสือ                         the manuscripts has been around for a long time since the
หรู อ้ ยหนงั สอื จดั วา่ เปน็ ธรรมบชู าทงั้ สนิ้ มผี ลานสิ งสเ์ ปน็ อนั มาก เปน็ การ  Lan Xang Kingdom. The act of Kan Chan, the consecration
ให้ทานที่ยิ่งใหญ่...” จะสุขสมบูรณ์ทุกประการ ม่ังคั่งไปด้วยทรัพย์                      of Pha Ho Kham Phi, Mai Prakap, palm - leaf stands, and
สมบัติ ข้าทาสบริวารช้าง ม้า โคกระบอื ชวี ติ จะเจรญิ ร่งุ เรอื ง ไม่มีโภย              storages have been found in the region too. In the past,
ภัยใด ๆ ได้แก่ ราชภัย อัคคีภยั และอทุ กภยั มาท�ำอันตรายได้ ทรัพย์                     each temple, especially if it was a Dhamma school, palm
สมบัติก็มีแต่จะพอกพูนขึ้นไม่ลดเลยลงเลย ท้ังนี้เพราะอานิสงส์ของ                        - leaf manuscripts were considered important learning
การถวายผ้าหอ่ คัมภีรน์ ่นั เอง                                                        resources. An abbot of a temple was given an important
	 หากเราศึกษาเกี่ยวกับคัมภีร์ใบลานตามวัดต่าง ๆ ในภาค                                  role in the making and providing the Tripitaka manuscripts
อีสานพบว่า การสืบทอดพระพุทธศาสนาด้วยการสร้างคัมภีร์ใบลาน                              to foster the learning of monks and novices. For this reason,
และถวายสง่ิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งมมี านานแลว้ ตงั้ แตเ่ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจกั ร        people with craftsmanship skills played a vital role in
ลา้ นชา้ ง จนมาเปน็ ภาคอีสานของประเทศไทย พบวฒั นธรรมการจาร                            creating the manuscripts believing that the merits would
ใบลาน ทั้งจารเอง และว่าจา้ งผ้ทู ี่มคี วามสามารถจารให้ โดยคดั ลอก                     be given to them and their families. With the craftsmanship,
จากใบลานต้นฉบบั การถวายผา้ หอ่ คมั ภรี ์ สายรดั ฉลากบอกช่อื เร่ือง                    which is considered a Buddhist artwork, it reflects a strong
ซึง่ เรยี กว่า “ไมป้ ้ี” การสร้างกากะเยียวางใบลานเพือ่ อา่ น การสรา้ งตู้             believe and faith of the people in each local community.
ซึ่งเรยี กวา่ “ตพู้ ระธรรม” และการสรา้ งหบี พระธรรม เพอื่ เกบ็ คัมภีร์

70  รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ
    Associate Professor Weenah Weesapen
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76