Page 253 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 253
๑. ปจั จัยดา้ นการสังคายนาพระไตรปฎิ ก สมยั practices were still maintained in the reign of King Rama II
รัชกาลท่ี ๑ และการพัฒนาการศึกษาคณะสงฆ์ and III respectively.
ในสมยั รัตนโกสินทร์
“…His Majesty the King had persuaded his
การสังคายนาในสมัยรัชกาลท่ี ๑ เป็นปัจจัยที่ท�ำให้การ royal family members and the rich to make merit,
เผยแพรพ่ ระไตรปิฎกและการเรียนร้คู มั ภรี พ์ ระไตรปิฎกในคณะสงฆ์มี give alms, build temples, and have prayers in many
ความส�ำคัญทั้งในเมืองหลวง เมืองใกล้เคียงและหัวเมือง ในรัชกาล noble houses. This was the era of faith ; many
ตอ่ มา คือสมัยรชั กาลท่ี ๒ - ๓ ได้ท�ำนบุ �ำรุงพระพทุ ธศาสนาโดยสร้าง temples were built and Buddhist monks, who lived
วดั วาอาราม และสง่ เสรมิ การเรยี นพระไตรปฎิ ก ดงั ขอ้ ความในเอกสาร either in the Bangkok or other cities, were highly
ต่าง ๆ ทีย่ กมา ดงั น้ี educated. When having the examination, many of
them were qualified as PhD, master’s, and bachelor’s
“...ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชศรัทธา degrees. Those who graduated were allowed to
ชกั โยงพระวงศานวุ งศ์และขา้ ราชการเศรษฐีผูม้ ที รพั ย์ท�ำบุญ leave the monkhood in order to go back and help
ให้ทาน สร้างวัดวาอาราม มีเทศนาวังเจ้า และบ้านขุนนาง their families or to pursue careers in the royal court…”
ตามชาวบ้านชาวแพเป็นอันมาก เป็นสมัยกาลสัทธาพากัน
สร้างวัดมีเทศนาในแผ่นดินน้ัน พระสงฆ์สามเณรอุตสาหะ (Thipakornwong, Chao Phraya, 1938)
เลา่ เรยี นพระไตรปฎิ กทงั้ ในกรงุ นอกกรงุ และหวั เมอื งเปน็ อนั
มาก ถงึ คราวไลห่ นงั สอื พระสงฆส์ ามเณรกไ็ ดเ้ ปน็ เปรยี ญเอก This excerpt appears in the Rattanakosin Royal
โท ตรี คราว ๑ เปน็ อนั มาก ถา้ พระสงฆท์ ่ีได้แปลพระคมั ภรี ์ Chronicles written by Chao Phraya Thipakornwong (Kham
เปน็ เปรียญ และพระเปรยี ญ ไดเ้ ลอื่ นเปน็ พระราชาคณะแล้ว Bunnak) in the reign of King Rama III. This part demonstrates
ญาตโิ ยมทตี่ กทกุ ขไ์ ดย้ ากเปน็ ไพรห่ ลวงไพรส่ มอยกู่ ด็ ี โปรดยก the religious prosperity patronized by the King and was
พระราชทานให้เป็นโยมสงฆ์ ถ้าลาสิกขาบทแล้วจะไปท�ำ mentioned in many written and verbal sources.
ราชการอยู่ในกรมใด ก็โปรดให้ตามใจสมัคร...” Before the reign of King Rama III, the King himself
had promoted the study of Mulakachayana manuscripts
(ทพิ ากรวงศ์, เจา้ พระยา, ๒๔๘๑) (Waraporn Jiwachaisak, 2013 : 46). That made the temples
in Bangkok more prosperous in religious studies. The
ข้อความนี้ปรากฏในพระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ prosperity of this era was probably the cause of the spread
รชั กาลที่ ๓ ของเจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค) กลา่ วถึงความ of scriptures to the other provinces. One of the pieces of
รงุ่ เรอื งในการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมครง้ั รชั กาลที่ ๓ ซง่ึ พระเจา้ แผน่ ดนิ evidence found at Wat Maneewanaram in Ubon Ratchathani
ไดอ้ ุดหนุนการปริยัตนิ นั้ สืบมาแต่คร้ังสมัยรัชกาลท่ี ๒ อกี ทั้งโปรดให้มี was the Wisuthimakka manuscript. It is believed to be
การสร้างพระไตรปิฎกข้ึนใหม่อีกหลายฉบับไว้ในหลายพระอาราม obtained within the Reign of King Rama III.
เทศนาพระราชประวัติไดใ้ หร้ ายละเอียดไว้ว่า The reign of King Rama IV was the enormous change
in the religious history of Thailand ; the King had entered
“...ทรงสร้างพระคัมภีร์ปริยัติไตรปิฎกธรรม พระบาลี the monkhood and founded Dhammayuttika Niyaka, the
อรรถกถา ฎีกาโยชนาและคัมภีร์สัททสารสัททาวิเศษไว้จัด
เปน็ ฉะบบั เอก ฉะบบั โท ประดษิ ฐานไวณ้ พระราชนั เตบรู สถาน
ฉะบบั เอกเปน็ ทส่ี กั การบชู า สว่ นธรรมเจดยี ท์ ม่ี สี ายรดั ไหมถกั
252 รองศาสตราจารยว์ ีณา วสี เพ็ญ
Associate Professor Weenah Weesapen