Page 152 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 152

“ชาวบา้ นอสี านมคี วามเชอื่ เรอื่ งสถานภาพของบคุ คลในสงั คม                        “Isan people believe in social status ; common
คือ ชาวบ้านทวั่ ไปจะไมใ่ ช้ไหมคำ� ไหมเงนิ ทอผา้ ถา้ ต้องการ                        people do not use golden or silver silk for weaving.
จะใชก้ ็จะใชไ้ หมสเี หลืองแทน ความเชอ่ื เรอื่ งศาสนานั้น เช่ือ                     Rather, they use the yellow one. According to their
กันว่า ถ้าใช้ผ้าหรือหมอนถวายพระจะได้บุญกุศลแรง โดย                                 religious belief, offering yellow cloth or pillows to
เฉพาะอย่างยิ่งผ้าไหม ซึ่งเป็นผ้าที่ท�ำได้ยาก มีความคงทน                            Buddhist monks results in high merit, especially if
สวยงาม จึงมีการน�ำผ้ามัดหม่ีไหม ไปถวายวัด เพื่อท�ำเป็น                             silk is the main material. Silk is considered rare,
ผา้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลาน เชอ่ื วา่ เปน็ การชว่ ยรกั ษาความรู้ สตปิ ญั ญา            durable, and stylish fabric. Therefore, it is
เพอ่ื ลกู หลานและชว่ ยสบื ทอดพทุ ธศาสนาไปพรอ้ ม ๆ กนั แต่                          popularly used and offered to a temple as Pha Ho
ก็มีผู้เฒ่าบางคนท่ีเคยเป็นเด็กใน “โฮง” ของเจ้านายเมือง                             Kham Phi (manuscript fabric wraps). It is believed
อบุ ลฯ คอื กลมุ่ ชนชน้ั ปกครอง ทเี่ รยี กวา่ “อญั ญาส”ี่ ใหค้ วาม                  to be the medium of knowledge, wisdom, and
เห็นว่า ท่ีต้องน�ำผ้าไปถวายวัดนั้น เหตุหน่ึงก็ด้วยเช่ือว่า                         religious preservation. Some elderly believes that
การทอผ้าไหมจะต้องฆา่ สตั ว์ ตัดชีวติ ตัวมอ้ น (ตัวไหม) เปน็                        offering silk fabric is another act of atonement as
จ�ำนวนมากจึงจะได้ผ้าไหมที่สวยงาม การกระท�ำเช่นน้ี                                  silk is made of thousands of silkworms.”
จงึ เสมอื นเปน็ การไถ่บาป”
                                                                                                        (Sunai Na Ubon. 1999 : 62)
                       (สนุ ัย ณ อุบล. ๒๕๔๒ : ๖๒)

	 เมื่อพิจารณาผ้าห่อคัมภีร์ในภาคอีสาน ข้อมูลที่ปรากฏต่าง                           	 Not only do Pha Ho Kham Phi reflect skills of local
สอดคลอ้ งกบั คำ� กลา่ วน้ี เพราะลกั ษณะของผา้ หอ่ คมั ภรี ์ แมจ้ ะเปน็ ฝมี อื      craftsmanship, but they also offer clues for social and
ของช่างทอในชุมชน แต่ส่ิงที่มาเกี่ยวข้องก็คือ สถานภาพของบุคคล                       ethnic status of Isan people. The characteristics,
และชาติพันธุ์ในสังคมอีสาน ท�ำให้ลักษณะ ลวดลาย วัสดุท่ีใช้และ                       appearances, and materials not only show the exquisiteness
เทคนคิ การทอประณตี มาก ปานกลาง และประณตี นอ้ ยแตกตา่ งกนั ไป                       of each weaver, but a social class and status of a person
ตามแนวนยิ มและความถนดั ของชา่ งทอ ผสู้ วมใสท่ งั้ บรุ ษุ สตรใี นชมุ ชน             who wear them. In the past, provinces in the Northeast had
และต�ำแหน่ง ฐานะของบุคคลน้ัน ๆ ซ่ึงท้ังทอใช้เองและจ้างช่างทอ                       the four power regimes which consisted of King, viceroy,
หรือมีช่างทอประจำ� “โฮง” เพราะสมัยกอ่ นนน้ั เมอื งในภาคอีสานมี                     royal sons, and royal families. These four elements acted
ปกครองระบบอาญาสี่ ประกอบดว้ ยเจา้ เมอื ง อปุ ฮาด ราชบตุ ร ราชวงศ์                  as political departments who were traditionally given
เป็นกรมการเมือง เป็นผู้ได้รับพระราชทานเครื่องยศต่าง ๆ ตาม                          various royal insignias. Silk fabrics were one of those
ธรรมเนียม ซ่ึงมีผ้าเป็นเครื่องประกอบยศด้วย ผ้าดังกล่าวเป็น                         insignias and were used and worn at the royal appearance.
ผา้ พระราชทาน จากพระเจา้ แผน่ ดนิ สยาม สำ� หรบั ใสเ่ ขา้ เฝา้ ทำ� ใหก้ าร          The use of fabric was therefore common for both high -
ใชผ้ า้ ในสงั คมอสี านมที ง้ั ผา้ ของกลมุ่ บคุ คลชน้ั เจา้ นายฝา่ ยบรุ ษุ และสตรี  rank and common people.
ผ้าของบคุ คลช้นั สงู ในสงั คม และผ้าของราษฎรท่ัวไป                                 	 This chapter emphasize on the “identity” of Pha
	 ในบทน้ีเป็นการเสนอรูปภาพผ้าห่อคัมภีร์ประเภทต่างท่ีเป็น                           Ho Kham Phi in Isan to evidently reaffirm the statement
“อัตลักษณ์” ของภาคอีสานเพ่ือชี้ให้เห็นว่าค�ำกล่าวข้างต้น มีข้อมูล                  above.
เชิงประจักษ์ในบทบาทของสตรีในชุมชนอีสาน ที่ท�ำบุญด้วยผ้าชนิด
ต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นพลังศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาในอดีต อันจะ
เป็นลทู่ างเชอื่ มรอ้ ยกับการสร้างสรรค์ในสมัยปจั จุบนั

                           ผา้ หอ่ คัมภรี ใ์ บลานในภาคอีสาน : อัตลกั ษณ์และการแพร่กระจาย  151
Palm Leaf Manuscript Wrap in Northeast Thailand : Identity and Diffusion
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157