Page 315 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 315
ผา้ ห่อคมั ภีรใ์ บลานที่น�ำวัสดุหรือเทคนิคมาจาก Pha Ho Kham Phi with Imported
แหล่งอน่ื Techniques and Materials
ผา้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานกลมุ่ นหี้ มายถงึ ไดน้ ำ� วสั ดจุ ากแหลง่ ภายนอก This type of Pha Ho Kham Phi refers to the fabrics
มาใช้ เชน่ น�ำเสน้ เงินหรอื ทองแล่งมาทอ ซึง่ วสั ดุเหลา่ นมี้ าจากอินเดีย which having used materials from India including bringing
แตใ่ นภาคอสี านมกั เปน็ ดนิ้ หรอื เสน้ ไหมเงนิ ไหมคำ� ทนี่ ำ� เขา้ จากฝรงั่ เศส silver or gold bars to weave with. But in the Northeast,
ผา่ นมาทางลาวและเวยี ดนาม การทอ การสรา้ งลวดลายและจดั ทำ� เปน็ tinsel or silver and gold silk from France are typically
ผา้ ห่อคัมภีรเ์ ป็นฝีมือชา่ งในท้องถิน่ อีสาน ผา้ ห่อคัมภีรใ์ บลานที่ใช้วัสดุ imported via Laos and Vietnam. There were rafts, robes
จากแหล่งภายนอก พบวา่ มผี า้ ยก ทง้ั ผา้ นุ่งสตรี ซง่ึ เรยี กวา่ ผา้ ซ่ินยก known as sarongs, rags, and fabrics specifically manufactured
ผ้าผืน และผ้าท่ีจัดท�ำข้ึนเพื่อห่อคัมภีร์ใบลานโดยเฉพาะ ซึ่งมี for wrapping scriptures, according to patterns created by
รายละเอียด ดังน้ี local artisans in Isan utilizing materials from outside
sources which are described below :
ผา้ ซนิ่ ยก
Pha Sin Yok
ผา้ ซิน่ ยก คอื ผา้ ซ่นิ ไหมทน่ี �ำเสน้ เงนิ หรอื ทองแล่ง มาป่ันควบ
กบั เสน้ ไหม และนำ� มาทอรว่ มกบั เสน้ ไหม โดยใชเ้ สน้ เงนิ เปน็ เสน้ พงุ่ ยก Pha Sin Yok is a silk sarong made of silver or gold
เป็นลวดลาย ผ้าซ่ินยกท่ีน�ำมาห่อคัมภีร์ใบลาน พบเพียงผืนเดียวใน bars and blended with silk threads woven together with
จ�ำนวนผ้าห่อคัมภีร์ประเภทต่าง ๆ ท่ีวัดแจ้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัด silk threads using the silver line as the weft woven in a
อุบลราชธานี ซึ่งเป็นวัดท่ีฝ่ายปกครองตามแบบโบราณในภาคอีสาน pattern. The Sarong used to wrap the palm leaf manuscripts
เรียกว่า อาญาสี่ ช้ันเจ้าราชบุตร เป็นผู้สร้าง น่ันคือ เจ้าราชบุตร were found at Wat Chaeng, Muang District, Ubon Ratchathani
(หนูคำ� ) เปน็ ผูส้ รา้ งวัดนี้ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้า Province. This is a temple that the ancient government in
อยูห่ ัว พ.ศ. ๒๔๓๑ (นลิ พันธ์ุเพ็ง. ๒๔๗๗ : ๑๓๕) จึงสนั นิษฐานว่า the northeastern region called the Fourth Class of Chao
อาจเป็นผ้าซิ่นของภรรยาเจ้าราชบุตรหนูค�ำ ได้ถวายวัดในโอกาสใด Ratchabut built. That is, Chao Rachabut (Nu Kham) was the
โอกาสหนึ่งก็เป็นได้ และภายหลังทางวัดได้น�ำมาห่อคัมภีร์ใบลาน one who built this temple in the reign of King Chulalongkorn
เมอื่ มาถงึ ปจั จบุ นั การเกบ็ และการศกึ ษาผา่ นคมั ภรี ใ์ บลาน เสอื่ มความ in 2431 (Nil Phanpheng. 2477 : 135). Therefore, it is assumed
นยิ มลง ทำ� ใหข้ าดการดแู ล แตก่ น็ า่ ยนิ ดี ทผ่ี า้ ซน่ิ ยกหอ่ คมั ภรี ท์ พี่ บเพยี ง that it may be the sarong of the prince’s wife. On any
๑ ผนื ยังคงอยู่ ใหไ้ ดศ้ กึ ษา ดังรปู occasion, Nu Kham made offerings to the temple, and the
temple brought the palm - leaf manuscripts later. These
days, the collection and study of palm - leaf manuscripts
has declined in popularity. This causes a lack of care.
However, it is gratifying that only one piece of sarong
wrapped around the manuscript remains to be studied, as
shown in the picture :
314 รองศาสตราจารย์วีณา วสี เพ็ญ
Associate Professor Weenah Weesapen