Page 16 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 16
คัมภีร์ใบลานเป็นเอกสารโบราณประเภทหนึ่ง ที่ผู้คนใน Palm - leaf manuscripts are one of the ancient
ประเทศแถบเอเชียได้ใช้ใบลานเป็นวัสดุในการบันทึกเร่ืองราว documents found in many Asian countries. Used before
ต่าง ๆ สมัยโบราณที่ยังไม่มีกระดาษใช้ โดยบันทึกทั้งค�ำสอนทาง the coming of actual papers, the manuscripts function as
ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ the historical records on where religious teachings,
ไสยศาสตร์ กฎหมาย ตำ� รายา ภาษาศาสตร์ วรรณกรรม และปกณิ กะ traditions, rituals, beliefs, astrology, astronomy, superstitions,
ต่าง ๆ law, pharmacopoeia, linguistics, literature, and other
วธิ กี ารบนั ทกึ จะใชเ้ หลก็ ปลายแหลมกรดี ลงบนเนอื้ ใบลานเปน็ miscellanies are inscribed.
อักขระต่าง ๆ ของแต่ละถิ่น บางคร้ังจะบันทึกรูปภาพ ตาราง หรือ To write on palm leaves is to use a sharp iron pen
สญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ทตี่ อ้ งการสอ่ื สาร ศพั ทเ์ ฉพาะเรยี กวา่ “การจาร” แต่ scribbling onto the leaves. Stories will be written on both
ตวั อกั ษรทจ่ี ารยงั ไมส่ ามารถอา่ นได้ ตอ้ งใชเ้ ขมา่ ผสมนำ้� มนั ทาลงไปบน sides of the palm leaves containing pictures, tables, and
ใบลานทจี่ ารแลว้ และเชด็ ดว้ ยสำ� ลหี รอื ทรายละเอยี ดหรอื ผา้ เขมา่ สดี ำ� symbols, together with stories written in various regional
จะซมึ ลงไปในร่องตวั อักษรทีจ่ าร ท�ำใหม้ องเห็นขอ้ ความตา่ ง ๆ และ alphabets. This process of writing is called “Kan Chan” 1.
สามารถอา่ นได้ การจารใบลานจะจารทง้ั สองดา้ น เนอ้ื หาอาจยาวหรอื After the process, the leaves will be anointed with carbon
สนั้ แตกตา่ งกนั เพอื่ ใหใ้ บลานทจ่ี ารแลว้ เนอื้ หาเรยี งตอ่ กนั และนำ� ไปใช้ and oil and wiped with cotton, fabric, or fine sand. By
สะดวก จึงมักจะจัดใบลานเป็นผูก ๆ โดยร้อยใบลานแต่ละใบด้วย doing so the black carbon will seep into the groove of each
เส้นด้ายท่ที �ำข้นึ มาเฉพาะเรียกว่า “สายสนอง” จำ� นวนใบลานท่รี อ้ ย channed alphabet making it visible and able to be read.
นยิ มจ�ำนวน ๑๒ ใบเป็น ๑ ผกู ถ้าเน้ือหายาวจะน�ำใบลานแต่ละผกู มา To collate, these channed palm leaves will, then, be
มัดรวมกันเปน็ เรอ่ื ง ๆ ดังนนั้ ใบลาน ๑ มัด อาจมีจ�ำนวนใบลานหลาย assembled and strung by a specific yarn called “Sai Sanong”
ผูก ต้ังแต่ ๒ ผูกข้ึนไป อาจถึง ๔๐ ผูกและมัดรวมเป็น ๑ เร่ือง which will hold, traditionally, twelve leaves together as one
เม่ือแต่ละเร่ืองรวมเข้าเป็นมัดใหญ่ และเพ่ือป้องกันมิให้ใบลานบิดงอ completed book. Longer stories that cannot be completed
จึงใช้ไม้เนื้อแข็งประกบท้งั สองดา้ น เรียกว่า “ไม้ประกับ” และห่อหมุ้ in one book will be on another twelve leaves. To make a
ภายนอกด้วยผ้า เพอ่ื ปอ้ งกันฝุน่ หรือแมลงมากัดแทะ ซึ่งเป็นผ้าทมี่ ีใน whole story, these books will then be bundled as one
ชุมชน หรืออาจท�ำขึ้นมาเพ่ือห่อคัมภีร์โดยเฉพาะ เรียกว่า “ผ้าห่อ manuscript. A manuscript, therefore, can comprise several
คมั ภรี ์” books ranging from two to forty sets of strung palm leaves.
กระบวนการบนั ทึกสาระความรลู้ งในใบลานแต่ละชาติ ลว้ น To maintain and strengthen the structure of a manuscript,
มวี ถิ ี มีกระบวนการที่ชัดเจน จนเรียกว่า “วัฒนธรรมการสร้างคมั ภรี ์ it will be bound by two pieces of hardwood technically
ใบลาน” เรมิ่ แต่การคดั เลือกใบลาน การเตรียมใบลาน การสร้างและ called “Mai Prakap” and wrapped by a fabric to protect
ตกแต่งเหล็กจารรูปแบบต่าง ๆ การสร้างไม้ประกับ ไม้บอกชื่อเรื่อง the manuscript from dust and insects. This particular fabric
ซึ่งไม้บอกชื่อเร่ืองน้ีทางภาคเหนือเรียก “ไม้ปัญชัก” อีสานเรียก which can be any cloth from the local area or specifically
“ไม้ปี้” การห่อคมั ภีร์ใบลาน การสร้างหบี พระธรรม ตูพ้ ระธรรมเก็บ made for manuscript wrapping is called “Pha Ho Kham Phi”
คัมภรี ์ใบลาน กล่าวไดว้ ่า หากศึกษาวัฒนธรรมการสร้างคัมภรี ใ์ บลาน .
หรอื หนงั สอื ใบลานแลว้ ส่งิ ที่ปรากฏคู่มาเสมอคือ ศลิ ปะแขนงต่าง ๆ
ในเกอื บทุกส่วนทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เชน่ ศิลปะการจารใหส้ วยงาม การเขียน 1 opCruhtaatnfitneg(rvK.a)avinseisrnbhforcorhtneatnnoegidfnagfovther arCbthsiaspeeRqcuiufeiickvavwleehrnbicthttoomaaednadoninusgn‘.‘ttoo’inosrc‘rib- ein’g. ’InbeTfhoarei,
ภาพประกอบ ศิลปะในการท�ำไม้ประกับ ซ่ึงมีทั้งการแกะสลัก การ
ท�ำลายรดนำ้� ทาสี การติดลายกระแหนะ การปดิ ทอง เปน็ ตน้ ศลิ ปะ
ผา้ หอ่ คมั ภรี ์ใบลานในภาคอีสาน : อัตลักษณแ์ ละการแพรก่ ระจาย 15
Palm Leaf Manuscript Wrap in Northeast Thailand : Identity and Diffusion