Page 247 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 247

ผา้ ห่อคัมภีรใ์ บลานกลุ่มผา้ ปักนี้ ขอ้ มลู ทป่ี รากฏแสดงให้เห็น                     	 These Pha Pak have shown many mutual
ถึงลักษณะรว่ มในการสร้างผ้าหอ่ คัมภรี ์ใบลานระหวา่ ง ๔ จังหวดั คอื                     characteristics of Pha Ho Kham Phi in 4 different
ขอนแก่น มหาสารคาม ยโสธรและอบุ ลราชธานี ว่ามีวัฒนธรรมการ                                pronvinces : Khon Kaen, Maha Sarakham, Yasothon, and
ปัก ซ่ึงภาษาอสี านสมยั ก่อนจะใช้ค�ำวา่ “แสว่ ” หรอื “หยบิ แส่ว” คอื                    Ubon Ratchathani. Be they the cutting, hand sewing, and
ท้งั ตดั เย็บด้วยมอื และปักลงบนผืนผา้ หลายผืนมีลักษณะเดียวกันทัง้                      embroidery. Many of them appeared in the same colors
สแี ละลวดลาย เชน่ ผา้ ปกั วดั หนองบวั แดง จงั หวดั มหาสารคาม กบั วดั                   and patterns (i.e., those found in Wat Nong Bua Daeng and
ทุง่ ศรวี ไิ ล วดั บ้านแขม จังหวัดอุบลราชธานแี ละผปู้ ักเปน็ แม่ขาว (แม่               Wat Thung Sriwilai) as the weavers were the local nuns and
ชี) และผู้หญิงท่ีมีความสามารถในชุมชน เน้นย�้ำให้เห็นบทบาทของ                           women. This highlights the community collaboration in
ทกุ สว่ นในการรว่ มกนั ปฏบิ ตั บิ ชู าเพอ่ื พระพทุ ธศาสนาดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้          religious conservation. Those Pha Pak in Khon Kaen are
สว่ นผา้ ปกั จงั หวดั ขอนแกน่ คอ่ นข้างจะมีเอกลกั ษณพ์ ิศษ คอื ปกั บนผ้า               unique as they are made of velvet with many embroidered
กำ� มะหยแ่ี ละเนน้ การปกั กรงึ เสน้ ดา้ ยสรา้ งลวดลายตา่ ง ๆ ผา้ หอ่ คมั ภรี ์         and threaded patterns.
ประเภทปักน้อี าจจะมีในแหลง่ อ่ืน ๆ อีก คงตอ้ งให้ผ้สู นใจคน้ หาตอ่ ไป                  	 In summary, from all the pictures of Pha Ho Kham
	 สรุปแล้ว สาระและภาพผ้าห่อคัมภีร์ใบลานทั้งมวลในบทนี้                                  Phi in this chapter, it is obviously seen that the Isan region
ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ด้านผ้าทอ                              has its unique skills of weaving and textile. Cloth and
พ้ืนเมืองประเภทต่าง ๆ ซึ่งนอกจากทอเพ่ือเป็นเคร่ืองนุ่งห่มแล้ว                          fabrics are woven to be used as everyday garments and
ยังได้น�ำมาปรบั ใชถ้ วายวดั วาอารามเพ่อื สรา้ งทางบุญและร่วมสบื สาน                    manuscript wraps which reflects a strong faith in Buddhism.
รักษาพระธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า คือร่วมรักษา “พระธรรม                                 Additionally, each local community has offered their own
เจดีย์” ให้คงอยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนให้ยาวนานท่ีสุด ท่ีส่ิงท่ีปรากฏ                     distinct characteristics in making Pha Ho Kham Phi - their
รว่ มกบั การมองเหน็ พลงั ศรทั ธาทางศาสนากค็ อื ทำ� ใหม้ องเหน็ อตั ลกั ษณ์             unique patterns, materials, and weaving techniques. Though
ในผ้าแพรพรรณของแต่ละชมุ ชนในภาคอีสานท้งั ๑๐ จงั หวัด ทีเ่ ปน็                          some of the fabrics are damaged, they have imprinted the
แหล่งขอ้ มูลเปน็ อยา่ งดีว่า แตล่ ะชมุ ชนมอี ัตลกั ษณ์ด้านเทคนคิ การทอ                 creativity and the lofty, delicate spirits of their makers which
การสร้างลวดลายบนผืนผ้าท่ีร่วมกันและแตกต่างกัน และแนวทาง                                are closely associated with their local identities. They are
การปรับเปลี่ยนแปรรูปเพ่ือให้เหมาะสมกับการห่อคัมภีร์ใบลาน                               the medium of interactions between local people and
ผ้าแพรพรรณเหล่านี้ แม้จะขาดว่ินและเสื่อมสลายไปจ�ำนวนมาก                                temples, the illustration of how national politics and
แตก่ ไ็ ดท้ งิ้ รอ่ งรอยการสรา้ งสรรคแ์ ละจติ วญิ ญาณอนั ละมนุ ของผสู้ รา้ ง           Buddhism are dependent, and, ultimately, the truth of life
ในผืนผ้าแล่ละประเภทเป็นอย่างดี ท�ำให้มองเห็นว่า ผ้าแต่ละผืนนั้น                        and the uncertainty. It is worth to notice that the culture
นอกจากความงามแลว้ ยงั ใหเ้ รอื่ งราวความสมั พนั ธข์ องบคุ คลกบั ชมุ ชน                 of making and offering Pha Ho Kham Phi are not entirely
คอื พระสงฆก์ บั ฆราวาส ผ้ศู รทั ธาสรา้ งผา้ หอ่ คมั ภรี ก์ บั ผทู้ อ ผเู้ ยบ็ ผปู้ กั  disappearing. Rather, it continues to rise in this modern
ไดม้ องเหน็ เจตจำ� นงในการทำ� บญุ มองเหน็ การสรา้ งงานเฉพาะตนและ                       world strengthening local cultures, encouraging new
รว่ มกนั สรา้ งงานเพอ่ื ศาสนา ไดเ้ หน็ นโยบายรฐั การเมอื ง การปกครอง                   entrepreneurs, and intriguing academic interests.
และการศาสนาบนผนื ผา้ ทำ� ใหม้ องเหน็ การมชี วี ติ และการเสอ่ื มสลาย
ของผืนผ้า สะทอ้ นความเป็นอนิจจงั ของสรรพสงิ่ เป็นอย่างดี

246  รองศาสตราจารยว์ ณี า วีสเพ็ญ
     Associate Professor Weenah Weesapen
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252