Page 67 - รายงานประจำปี 2565
P. 67

รายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

                                                     สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

















                 ลงพื้นที่จัดกิจกรรม work shop

                 วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๕ งานพิพิธภัณฑ์และจดหมายลงพื้นที่จัดท ากิจกรรม work shop และระดมความคิดเห็น
            เพื่อค้นหาเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของอ าเภอแกด า รวมทั้งค้นหาสถานที่ส าคัญเพื่อเพิ่มเติมในแผนที่ทางวัฒนธรรมอ าเภอ
            แกด า (cultural mapping) ณ ห้องประชุมที่ว่าการอ าเภอแกด า ภายใต้โครงการจากต้นทุนแหล่งน้ าสู่กลุ่มศิลปวัฒนธรรม

            หนองแกด า















                 สถาบันวิจัยศิลปะฯ จัดงานมหาสาร คราฟท์
                 วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ได้จัดงาน “นวัตกรรมสร้างสรรค์ มหาสาร คราฟท์”

            ภายใต้โครงการพัฒนาพื้นที่ทุนทางวัฒนธรรม เพื่อสร้างเครือข่ายช่างทอให้เกิดเป็นชุมชนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และพัฒนา
            ผลิตภัณฑ์ให้เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดมหาสารคาม โดย อาจารย์ทม เกตุวงศา ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม
            อีสาน หัวหน้าโครงการ และรองศาสตราจารย์ ดร.น้ าฝน ไล่สัตรูไกล เป็นนักวิจัยหลักในโครงการ  ณ พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย

            มหาสารคาม (พื้นที่ขามเรียง) โดย รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม นายธัญญวัฒน์ ชาญพินิจ ได้ให้เกียรติเป็นประธาน
            เปิดงาน และรองศาสตราจารย์ ดร.อรวิชญ์ กุมพล รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและพัฒนาองค์กรดิจิทัล  ได้กล่าวต้อนรับ

            ผู้เข้าร่วมงาน ภายในงานมีการจัดกิจกรรม Workshop การย้อมผงสีธรรมชาติเอกลักษณ์มหาสารคาม  การสกรีนลายบนผ้า
            การต่อผ้า การท าแพทเทิร์น  การออกแบบ การใช้สี การสร้างลวดลายผ้า และบรรจุภัณฑ์ การเดินแบบแฟชั่น ชุด“มหาสาร

            คราฟท์” โดย นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ ชุด“ผ้าทอมหาสารคาม” โดย ชมรมผู้สูงอายุตักสิลานคร และ สมาคม
            ส่งเสริมผ้าไทยจังหวัดมหาสารคาม ตลอดจนการออกร้านของชุมชนที่ร่วมในโครงการ จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้ร่วมพัฒนา

            ปรับปรุง โดยมีนิสิต บุคลากร ประชาชนให้ความสนใจเข้าร่วมงานและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์  จากนั้นได้มีการมอบผลงานการ
            ออกแบบลายผ้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้แก่ชุมชนที่ร่วมโครงได้น าไปใช้และพัฒนาต่อยอดต่อไป














                                                           ๖๖
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72