Page 54 - รายงานประจำปี 2565
P. 54

รายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

                                                      สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


                             ๒.๒.๒ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประเมิน/วิเคราะห์ความเสี่ยงและระบุ

            ปัจจัยเสี่ยงในแต่ละกิจกรรม
                             ๒.๒.๓ หน่วยงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อความส าเร็จในการ

            ด าเนินงานตามมหาวิทยาลัยฯ ก าหนด
                          ๒.๓ กิจกรรมการควบคุม

                             ๒.๓.๑ หน่วยงานมีการมอบหมายงาน ก าหนดอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรเป็น

            ลายลักษณ์อักษร
                             ๒.๓.๒ หน่วยงานมีคู่มือการปฏิบัติงานและแผนการปฏิบัติงานครอบคลุมทุกกลุ่มงานตามโครงสร้าง

            ของหน่วยงาน ได้แก่ กลุ่มงานบริหาร, งานบริการวิชาการและท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
                               ๒.๓.๓ หน่วยงานมีแผนการปฏิบัติงาน เช่น งานสารบรรณ, งานประกันคุณภาพการศึกษา,งาน

            พัฒนาระบบราชการ,งานวิจัยและงานสร้างสรรค์,งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ,งานเอกสารโบราณ, และงาน

            ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น
                         ๒.๔ สารสนเทศและการสื่อสาร

                             ๒.๔.๑ หน่วยงานมีการสื่อสารและเผยแพร่นโยบายการบริหารงานและนโยบายการพัฒนาของ

            หน่วยงานให้บุคลากรรับทราบอย่างทั่วถึงเป็นลายลักษณ์อักษร
                             ๒.๔.๒ หน่วยงานมีระบบสารสนเทศที่เหมาะสมเพียงพอเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน และตอบสนอง

            ความต้องการของผู้ใช้งานได้เป็นอย่างดี เช่น ระบบลาราชการออนไลน์, ระบบสืบค้นหนังสือราชการระบบทะเบียนคุม
            วัสดุ ระบบติดตามโครงการ และระบบการขอใช้รถยนต์การขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น

                         ๒.๕ การติดตามประเมินผล

                             ๒.๕.๑ หน่วยงานมีการประเมินและติดตามการด าเนินกิจกรรมของหน่วยงาน จากส านักตรวจสอบ
            ภายใน เป็นประจ าทุกปี

                             ๒.๕.๒ หน่วยงานมีการปรับปรุงและแก้ไขขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีข้อบกพร่องอย่างสม่ าเสมอและ
            ต่อเนื่อง

                             ๒.๕.๓ ผู้บริหารและบุคลากรมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไขขั้นตอนการปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรม

             อย่างต่อเนื่องในที่ประชุมประจ าเดือน


                   ๓. การรายงานการควบคุมภายใน

                         ๓.๑ หน่วยงานประเมินแบบสอบถามองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) ครบถ้วน ๕
            องค์ประกอบ ๑๗ หลักการ และการสรุปผลมีความสอดคล้องกับรายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุม

            ภายใน (แบบ ปค. ๔)

                         ๓.๒ การจัดท าแบบสอบถามการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ข) ครอบคลุมภารกิจหลักตามโครงสร้างของ
            หน่วยงาน

                         ๓.๓ การประเมินแบบสอบถามการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ข) ผลการประเมินพบประเด็นความเสี่ยง
            หน่วยงานน ามาจัดท ารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕) ครบถ้วน


                                                            ๕๓
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59