Page 63 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 63

ผา้ หอ่ คัมภรี ์วดั คงคาราม                                                            Pha Ho Kham Phi at Wat Khong Kha
                                                                                              Ram
	 วัดคงคาราม ต้ังอยู่ที่ ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม
จงั หวดั ราชบรุ ี อยหู่ า่ งจากจงั หวดั ๒๒ กโิ ลเมตร เปน็ วดั ทมี่ มี าแตโ่ บราณ       	 Located in Khlong Takot, Photharam Distrcit,
จะสร้างในครั้งใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่เล่าสืบต่อมาของ                               Ratchaburi Province, Wat Khong Kha Ram has been around
ชาวบา้ นซง่ึ มเี ชอ้ื สายมอญวา่ ในสมยั ปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยาตอ่ กบั กรงุ ธนบรุ ี        since ancient times. There is no clear evidence about the
และต้นรัตนโกสินทร์ มีพวกมอญได้อพยพเข้ามาตามล�ำน้�ำแม่กลอง                              date it was built. Some believe that the Mon immigrants
มาตงั้ ถน่ิ ฐานอยูเ่ หนอื เขตอ�ำเภอโพธารามขนึ้ ไป จดใตอ้ ำ� เภอบ้านโป่ง                built this temple. Some said it was built before the Mon
และได้สรา้ งวัดนีข้ ้นึ อีกกระแสหน่ึงกล่าววา่ วัดนีอ้ าจจะสร้างมาก่อน                  immigrants came. This temple had been named “Wat Klang”
ทพ่ี วกมอญจะอพยพเขา้ มา หลงั จากเขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานอยู่ กไ็ ดท้ ำ� นบุ ำ� รงุ         meaning the central temple before His Majesty King
เป็นวัดมอญสืบต่อมา เดิมวัดนี้ชื่อ “วัดกลาง” ภาษามอญ เรียกว่า                           Mongkut (King Rama IV) gave this temple the new name as
“เภยี โต”้ มคี วามหมายอยสู่ องนยั คอื  ศนู ยก์ ลางชมุ ชน หรอื ชอื่ วดั เดมิ            “Wat Khong Kha Ram” .
สมัยอยู่ประเทศมอญ เป็นวัดท่ีสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า                                	 Wat Khong Kha Ram is a temple of the Thai - Mon
เจ้าอยู่หัว โปรดพระราชทานผ้ากฐินหลวงท่ีวัดนี้หลายปี และได้                             community. The temple consists of Ubosot which has
พระราชทานนามใหมเ่ ปน็ “วดั คงคาราม” วดั นมี้ พี ระมอญจากพระนคร                         outstandingly beautiful murals. It is an important learning
ท่ีมีความรู้ความสามารถมาปกครอง โดยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น                             center for Thai painting students. There are nine Thai
เจ้าคณะใหญ่ ได้ปกครองวัดตามแม่น�้ำแม่กลองทั้งสองฝั่ง วัดนี้จึงได้                      houses built in the Thonburi period. These houses are now
เปน็ วดั เจา้ คณะใหญ่ฝา่ ยรามัญนิกาย แขวงเมอื งราชบรุ ี และเจ้าคณะ                     modified as a folk museum collecting old objects related
ได้รับการแต่งตัง้ สมณศกั ด์เิ ปน็ พระครรู ามัญธบิ ดถี ึง ๖ รูป                         to the locality. Importantly, there is an exhibition of
	 วดั คงคาราม เปน็ วดั ของชมุ ชนชาวไทยเชอื้ สายมอญ ในวัดมี                             palm - leaf manuscripts, Pha Ho Kham Phi, Dhamma
ศาสนาคารประกอบดว้ ย อโุ บสถ ซงึ่ มจี ติ รกรรมฝาผนงั ทมี่ คี วามสวยงาม                  cabinets and caskets. Some of the Pha Ho Kham Phi are
โดดเด่นสวยงาม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส�ำคัญของผู้เรียนจิตรกรรมไทย                         displayed making it possible to see the culture of the palm
มกี ฏุ เิ รอื นไทย ๙ หอ้ ง สรา้ งในสมยั ธนบรุ ี ปจั จบุ นั จดั ใหเ้ ปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์  - leaf manuscripts of Mon people which record the
พ้ืนบา้ น รวบรวมวตั ถุเกา่ แก่ซ่งึ เกี่ยวขอ้ งกบั ท้องถนิ่ ไว้ให้คนรนุ่ หลงั ได้       Tripitaka and various religious stories in Mon language and
ศึกษาหลายประเภท ที่ส�ำคัญนั้น มีนิทรรศการคัมภีร์ใบลาน ผ้าห่อ                           letters.
คัมภีร์ใบลาน ตู้พระธรรม หีบพระธรรมและผ้าห่อคัมภีร์ใบลานบาง
ส่วนของวัดวางแสดง ท�ำให้มองเห็นวัฒนธรรมด้านคัมภีร์ใบลานของ
ชาวมอญว่า ยังคงบนั ทกึ พระไตรปิฎกและเรื่องราวต่าง ๆ เป็นภาษา
และตวั อกั ษรมอญ

                                                                                       ภาพจติ รกรรมบนบานประตู
                                                                                       Door Paining

62  รองศาสตราจารยว์ ณี า วีสเพ็ญ
    Associate Professor Weenah Weesapen
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68