Page 267 - Palm-Leaf-Manuscript-Wrap-in-Northeast Thailand
P. 267

เผยแพรไ่ ปยังวดั ส�ำคญั ๆ ในแตล่ ะจังหวัด ภายในบรรจุคัมภีร์ใบลาน                           	 These ready - made Pha Ho Kham Phi were often
ซึ่งเปน็ พระไตรปฎิ กฉบบั เส้นพมิ พต์ ัวอักษรไทย สว่ นกล่องไม้ทบ่ี คุ คล                    sold in specialized stores. Some may be artisans who used
ท่ัวไปเป็นเจ้าศรัทธาน้ัน จะเลือกเนื้อหาที่เป็นชาดกหรือพระธรรม                              to be palace technicians and later become independent
เทศนาเรอ่ื งต่าง ๆ ให้โรงพมิ พ์จัดพิมพเ์ ป็นใบลานฉบบั เส้นพมิ พ์ และ                       technicians.
โรงพมิ พจ์ ะดำ� เนนิ การตามความประสงคข์ องผวู้ า่ จา้ ง กลอ่ งบรรจคุ มั ภรี ์              	 Beside producing Pha Ho Kham Phi, the storing
มักทำ� จากไมเ้ นือ้ ดี ทาสนี ำ้� ตาล ขนาดกวา้ งประมาณ ๓๕ เชนตเิ มตร                        materials were found to be varied. Ranging from wooden
ยาวประมาณ ๕๕ เซนตเิ มตร ฝาดา้ นนอกกลอ่ งไมน้ จ้ี ะเขยี นชอื่ ผสู้ รา้ ง                    to glass boxes, these storages were royal - made and, with
ค�ำอุทศิ ไว้ทหี่ น้ากล่อง                                                                  the Tripitaka inside, were distributed to other important
	 นอกจากนี้ ยังมีกล่องไม้ที่ตกแต่งฝาด้านบนด้วยศิลปะลาย                                     temples in many provinces.
รดน้�ำ มีท้ังขนาดท่ีบรรจุคัมภีร์ใบลานได้หลายผูก และกล่องไม้ลาย                             	 Some of the containing boxes were painted in
รดนำ�้ ขนาดเลก็ ดงั ตวั อยา่ ง                                                             water patterns as shown below :

กลอ่ งไมบ้ รรจุคัมภรี ใ์ บลาน วดั มหาชัย อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั มหาสารคาม ข้อความหน้ากลอ่ ง  Wooden manuscript storage box at Wat Mahachai, Maha Sarakham
ระบุว่า “นางแก้ว อตั ถากร พรอ้ มลกู หลาน บริจาคเงนิ ๓๐๐ บาท สรา้ งหนงั สือ ๓ คมั ภรี ์ :
พระยาชมพูบดี สังคายนาย และอริยสัจ อุทิศในคราวท�ำบญุ ๑๐๐ วันแด่
ญาแม่ศรี เจริญราชเดช ถงึ แกก่ รรม เมือ่ วันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๔๗๐”

       ปัจจยั โดยออ้ ม                                                                     Water - patterned wooden manuscript storage box at Wat Maha Wanaram,
                                                                                           Ubon Ratchathani.
	 ปัจจยั โดยออ้ ม ในทน่ี ้ีหมายถงึ การทีส่ ตรีในชมุ ชนภาคอสี าน
ซึ่งมีความสามารถด้านการทอผ้า สืบสานมาเป็นวัฒนธรรมในชุมชน
และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม กลายเปน็ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม
มเี ทคนิคตา่ ง ๆ ดา้ นการทอผา้ เดิม เช่น การมดั หมี่ การขดิ การกุ๊น
การขลิบ การสอย การเย็บด้วยด้ายหรือไหมเทคนิคต่าง ๆ ซ่ึงทาง
ประเทศลาวมกั ใชค้ ำ� วา่ การหยบิ แสว่ (การเยบ็ แสว่ ) ตามทสี่ บื ทอดมา
ในชุมชน แต่เมื่อไดพ้ บเห็นงานฝมี ือจากแหล่งภายนอกที่มาปรากฏใน
ชุมชน พร้อมกับการเรียนรู้ในระยะหลังจากโรงเรียนการเรือน ท�ำให้
สามารถเลยี นแบบงานฝมี ือเหล่าน้นั เช่น การปักดว้ ยด้ายสี หรือเส้น
ไหม ปักดิ้นแข็ง ดิ้นอ่อน การทอผ้ายกด้วยด้ินทอง ด้ินเงิน การปัก

266  รองศาสตราจารยว์ ณี า วสี เพ็ญ
     Associate Professor Weenah Weesapen
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272