Page 7 - รายงานประจำปี 2565
P. 7

รายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5

                                                     สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


                           นโยบายการบริหารและพัฒนาสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน

           หมวดนโยบาย
                   เป็นหน่วยงานที่มีปรัชญา พันธกิจ และวิสัยทัศน์ ที่เป็นแนวทางในการบริหารจัดการองค์กรที่ดีมีการ

           บริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลควบคูกับหลักขององค์กรแห่งการเรียนรู้และน าไปสูการพัฒนาประชารัฐ มีการพัฒนา

           ทรัพยากรมนุษย์ให้มีสมรรถนะการท างานที่ดี สร้างความมั่นคง ความสุขในการท างานและสามารถยกระดับคุณภาพ
           ชีวิตบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสถาบัน มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได

           ที่มุ่งเน้นแห่งการเป็นศูนย์การเรียนรู้และผู้น าการวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

           เพื่อสนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย นั่นคือสร้างผลิตผลจากงานวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ใหม่และมีคุณภาพในด้าน
           มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การบริการวิชาการ การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม

           ให้น าไปใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสม  ให้การบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม เพื่อให้ชุมชนและสังคมสามารถ
           พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน อนุรักษ์ ฟื้นฟู ปกป้อง และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของอีสาน

           เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับของสังคม และสามารถแข่งขันกับนานาประเทศได
           หมวดภารกิจหลัก

                   ๑. ด้านการวิจัย

                    เป็นหน่วยงานที่มุ่งวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม
           มีงานวิจัยที่บูรณาการหลายศาสตร์  โดยสามารถน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชนต่อสังคมประเทศชาติไดอย่างมี

           ประสิทธิภาพ  รวมทั้งการพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน และเพื่อตอบสนองการแกปัญหาของชุมชน สังคมและประเทศ

                   ๒. ด้านการบริการวิชาการ
                   เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และบริการวิชาการแก่สังคม เสริมสร้างศักยภาพของมนุษย์และพัฒนาชุมชน

           อย่างยั่งยืน มีการบูรณาการด้านการบริการวิชาการเข้ากับการวิจัย การเรียนการสอนเพื่อพัฒนานิสิต  มีการท างานเชิง

           วิชาการร่วมกัน (Engagement) ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน และสังคม รวมทั้งเป็นที่พึ่งของสังคมและชุมชน
                    ๓. ด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม

                        เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอีสาน

           และภูมิปัญญาท้องถิ่นในฐานะทุนทางวัฒนธรรม มีการบูรณาการการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม  เข้ากับการวิจัย
           และการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพนิสิตและประชาชน การสร้างมูลค่าเพิ่ม และคุณค่าเพิ่มให้กับศิลปะและ

           วัฒนธรรม รวมทั้งการพัฒนานวัตกรรมด้านศิลปะและวัฒนธรรมให้เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและนานาชาติ
                        ๔. ด้านการบริหารจัดการ

                         เป็นหน่วยงานที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับของสังคม มีการ
           พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีสมรรถนะการท างานที่ดี สร้างความมั่นคงและความสุขในการท างานและสามารถยกระดับ

           คุณภาพชีวิตบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนภารกิจของหน่วยงานได้ มีระบบการบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุ ที่มี

           ประสิทธิภาพสามารถตรวจสอบได้ มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการประกัน
           คุณภาพการศึกษาที่สามารถก ากับและควบคุมให้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน สร้างภาพลักษณ์ของสถาบันให้ได้รับการจัด

           อันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และพัฒนาด้านระบบกายภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้นิสิต บุคลากรและชุมชนได้

           ใช้ประโยชน์ร่วมกัน

                                                           ๖
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12