Page 17 - ผ้าไหมล้ำเลอค่า
P. 17
จั งหวดั มหาสารคามเป็นจังหวดั ทตี่ ้ังอยู่กงึ่ กลางของภาคอีสาน มจี ดุ เด่นด้านวฒั นธรรมผ้าทอ คือ มีการสบื สาน
มรดกวฒั นธรรมผา้ ทออยา่ งตอ่ เนอื่ ง สง่ ผลใหใ้ นพนื้ ทจ่ี งั หวดั มหาสารคามยงั คงปรากฏภมู ปิ ญั ญาการทอผา้ อยา่ งแพรห่ ลาย
ทั้งการปลูกหม่อนเล้ียงไหม การย้อมสีธรรมชาติ การทอผ้าลวดลายดั้งเดิมควบคู่กับลวดลายใหม่หรือลวดลาย
ประยุกต์การออกแบบตัดเย็บเส้ือผ้าและเครื่องแต่งกาย จนได้รับการเชิดชูให้เป็นส่วนหนึ่งในค�ำขวัญประจ�ำจังหวัด
“พุทธมณฑลอสี าน ถ่นิ ฐานอารยธรรม ผา้ ไหมล้�ำเลอคา่ ตกั สิลานคร” โดยมีลายสรอ้ ยดอกหมากเป็นลายผ้าประจ�ำ
จังหวัด และมีลายผ้าประจ�ำอ�ำเภอท้ัง 13 อ�ำเภอ ข้อมูลในปี พ.ศ. 2565 พบว่า จังหวัดมหาสารคามมีกลุ่มทอผ้าและกลุ่ม
แปรรปู ผลิตภณั ฑผ์ ้าทอทีข่ น้ึ ทะเบยี นกับกรมการพฒั นาชมุ ชน จ�ำนวน 446 กลุ่ม มีรายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ คน 23,540 บาท/เดอื น
(สำ� นกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั มหาสารคาม การยกระดบั ผา้ ทอพนื้ เมืองมหาสารคามเพื่อส่งเสรมิ ระบบเศรษฐกจิ ฐานราก
2565) และมีวสิ าหกจิ ดา้ นปลกู หมอ่ นเล้ยี งไหม ย้อมสธี รรมชาติ และทอผ้า ทข่ี น้ึ ทะเบยี นวิสาหกิจชุมชน ในปี พ.ศ. 2566
จ�ำนวน 243 กลุ่ม (ระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
https://smce.doae.go.th/index.php สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2566) ดังนนั้ มรดกวฒั นธรรมผา้ ทอ
จึงเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมท่ีส�ำคัญในการพัฒนาทั้งด้านคุณค่าของเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการสร้างมูลค่าเพ่ิม
ทางเศรษฐกิจ
M aha Sarakham people are continuously outstanding in continuing the weaving culture which
has been passed on to them from their ancestors even though they might have been affected by
some changes, such as the import of silk fibers, the replacement with artificial silk and the use of
synthetic fibers in fabric dyeing. In many areas in Maha Sarakham province, weaving wisdom is still
widely preserved and carried on which includes silkworm cultivation, natural dyeing, weaving of
traditional patterns together with new patterns, modified patterns, and tailoring and dress design.
These activities are actively and continuously supported by government agencies, private sector,
civil society, academic sector and public sector. This support has resulted in making woven fabric
beautifully unique as reflected in the provincial slogan “Isan Buddhist Province, Civilization Settlement,
Precious Silk, City of Academic Education.” Woven fabrics are cultural capitals that help create added
economic values and improve the quality of life of people in Maha Sarakham province.-In 2022, there
were 446 weaving groups and woven fabric processing groups registered with the Department of
Community Development with an average income per person of 23,540 baht/month. (Maha Sarakham
Provincial Community Development Office. Raising the level of Maha Sarakham local weaving fabrics
to promote the foundation economy. 2022.)8 In 2023, there was a group of sericulture enterprises,
natural dyeing and weaving that was registered as a community enterprise. (Community Enterprise
Information System, Department of Community Enterprise Promotion, Ministry of Agriculture and
Cooperatives. https://smce.doae.go.th/index.php. Retrieved on 10 May, 2023.)
Maha Sarakham Precious Silk 15